วันจันทร์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2562

บทที่ 6 วิธีการใช้งาน Joomla (จูมล่า)

การใช้งาน Joomla (จูมล่า)



                Joomla (จูมล่า) คือ CMS (ซีเอ็มเอส) ตัวหนึ่งจากหลายๆ ตัวที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน สำหรับคุณที่ยังไม่รู้จักว่า CMS คืออะไร ขออธิบายสั้นๆ เพิ่มเติมดังนี้ครับ CMS นั้นเป็นอักษรย่อของ คำว่า "Content Management System" (คอนเท้น เมเนจเม้น ซิสเต้ม) ซึ่งเมื่อแปลเป็นภาษาไทย หมายถึง ระบบบริหารจัดการเนื้อหาของเว็บไซต์ นั่นหมายความว่า สิ่งที่เราจะต้องดูแลก็คือเนื้อหาของเว็บไซต์ เช่น การเพิ่มบทความ การเพิ่มรูปภาพ หรือการปรับแต่งโยกย้ายโมดูลต่าง ๆ ไม่จำเป็นจะต้องมานั่งเขียน Code ด้วยภาษา HTML (เอ็ชทีเอ็มแอล), PHP (พีเอ็ชพี), SQL (เอสคิวแอล) เพียงแต่เรียนรู้วิธีการติดตั้ง การปรับแต่ง การใช้งาน CMS เท่านั้น สำหรับ Code (โค้ด) ต่าง ๆ ที่นำมาสร้าง และ ออกแบบเว็บไซต์ จะทำโดยทีมงานของผู้พัฒนา CMS ของแต่ละทีม ซึ่งทำให้ประหยัดเวลาในการสร้าง และออกแบบเว็บไซต์ ได้อย่างมาก

คุณสมบัติของ จูมลา (Joomla)



-ฟรีเครื่องมือในการพัฒนาเว็บ
-Joomla เป็น CMS จึงรองรับการบริการจัดการข้อมูลได้ง่าย
-มีระบบ Back-end หรือหลังบ้าน ที่ทำให้เราแก้ไขเว็บก่อน จากนั้นจึงสั่งให้แสดงผลที่หน้าเว็บจริงภายหลัง
-การเข้าถึงระบบ Back-end จะต้องใส่ User name และ Password ก่อนเสมอ
-สามารถสร้างผู้ใช้งานได้มากหนึ่ง ซึ่งช่วยให้แบ่งการทำงานได้ดีมาก
-รองรับการใช้งานหลากหลายภาษา รวมทั้งภาษาไทย
-มีเครื่องมือเสริมอื่นๆ (Plugins) ในการตกแต่งเว็บให้สวยงามมากขึ้น
-ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในการพัฒนาเว็บ ถ้ามียิ่งช่วยให้สามารถปรับแต่งได้อย่างอิสระขึ้น
-การออกแบบ จะมี Theme ให้สามารถเลือกดาวน์โหลดและใช้งานได้ฟรีมากมาย
-ใช้งานง่าย เพียงมีความรู้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น และใช้งาน Microsoft Office เป็น
-ผู้เยี่ยมชมเว็บ สามารถเขียนคำแนะนำ หรือ comment ได้แบบทันที (realtime)
-สามารถสร้างกลุ่มของข้อมูลได้
-สามารถปรับแต่งเมนูในการแสดงผลได้
-รองรับการโปรโมทเว็บแบบ SEO
-มีความยืนหยุ่นในการแสดงผลข้อมูลมากกว่า เพราะจูมลาสามารถเลือกลำดับการแสดงของข้อมูลได้---อย่างตามใจ ไม่ขึ้นกับกับว่า ข้อมูลใหม่จะแสดงด้านบน ข้อมูลเก่าแสดงด้านล่าง
-สามารถจัดหน้าตาได้หลากหลายกว่า WordPress
-จูลาเป็นเว็บไซต์ 100% ไม่ใช่ Blog


ขั้นตอนและวีธีการติดตั้ง Joomla

ขั้นตอนที่ 1 ดาวน์โหลดไฟล์ Joomla 3.7 ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อน เมื่อเราโหลดไฟล์มามันจะเป็นไฟล์ .zip ให้เราทำการแตกไฟล์ก่อน

แสดงดาวน์โหลดไฟล์ Joomla 3.7



ขั้นตอนที่ 2. สร้างโฟล์เดอร์ตามชื่อไฟล์ที่เราโหลดมาในไดฟ์ที่มีโฟล์เดอร์ xampp :C > xampp > htdocs >สร้างโฟล์เดอร์ เมื่อสร้างโฟล์เดอร์แล้วให้นำไฟล์ที่เราแตกไฟล์มาวางในในโฟล์เดอร์ที่สร้าง


แสดงการสร้างโฟล์เดอร์ตามชื่อไฟล์




ขั้นตอนที่ 3. เมื่อวางไฟล์เรียบร้อยแล้ว ให้เปิด phpMyAdmin ขึ้นมา โดยพิมพ์คำว่า localhost บนบราวน์เซอร์ เพื่อสร้างฐานข้อมูล
3.1 เลือก databases
3.2 สร้างฐานข้อมูลชื่อเดียวกับโฟล์เดอร์ที่เราสร้างไว้
3.3 ให้ใส่ utf8_general_ci 
3.4 คลิก create


เปิด phpMyAdmin ขึ้นมา



ขั้นตอนที่ 4. หลังจากที่สร้างฐานข้อมูลเสร็จแล้ว ให้พิมพ์ locaalhost /ชื่อฐานข้อมูลที่เราสร้างไว้เมื่อสักครู่บนบราวน์เซอร์ ตัวอย่าง localhost/joomla3.7 แล้วกด Eenter รอสักครู่ก็จะแสดงหน้า Configuration หรือการตั้งค่าหลักของเว็บขึ้น

แสดงหน้า Configuration





ขั้นตอนที่ 5. เมื่อแสดงหน้า Configuration หรือการตั้งค่าหลักของเว็บ ให้เราทำการเลือก Select Language เป็นภาษาไทย จากนั้นก็กรอกรายละเอียดข้อมูลส่วนต่างๆที่สำคัญ ให้ครบ
5.1 Site Name : ชื่อเว็บไซต์
5.2 Administrator Email : อีเมลล์ผู้ดูแลระบบ
5.3 Administrator Username : ชื่อผู้ดูแลระบบ
5.4 Administrator Password : รหัสผ่านผู้ดูแลระบบ
5.5 Confirm Administrator Password : ยืนยันรหัสผ่านผู้ดูแลระบบ 
5.6 เมื่อทำการกรอกรายละเอียดที่สำคัญครบแล้วให้คลิกปุ่ม Next หรือต่อไป


แสดงหน้า Configuration




ขั้นตอนที่ 6. หลังจากที่คลิกปุ่ม Next หรือต่อไป ก็จะแสดงหน้า Database Configuration เป็นการกำหนดค่าฐานข้อมูล มีช่องข้อมูลสำคัญที่ต้องทำการกรอก
6.1 Host Name : ชื่อของ host กรอกเป็น localhost
6.2 Username : ผู้ใช้งาน เช่น root6.3 Database Name : ชื่อฐานข้อมูล จากตัวอย่างเป็น joomla3.7 
6.4 เมื่อกรอกรายละเอียดสำคัญครบแล้วให้คลิก Next หรือต่อไป เพื่อทำการติดตั้งต่อไป


แสดงหน้า Database Configuration


ขั้นตอนที่ 7. คลิก Next หรือต่อไป ก็จะขึ้นหน้าแสดงภาพรวมการกำหนดค่าทั้งหมดที่ได้กำหนดมา เราสามารถตรวจดูรายละเอียดขอมูลว่าถูกต้องหรือไม่ ถ้าถูกต้องแล้ว ให้คลิก Install เพื่อทำการติดตั้ง


แสดงภาพรวมการกำหนดค่าทั้งหมด


ขั้นตอนที่ 8. หลีงจากที่เราทำการคลิก Install หรือติดตั้ง เพื่อทำการติดตั้ง ให้รอโปรแกรมทำการติดตั้งสักครู่
ขั้นตอนที่ 9. เมื่อเราทำการติดตั้งเสร็จ ก็จะขึ้นหน้าจอเว็บของ Joomla ให้เราคลิกที่ Remove Installation Folder
คลิกที่ Remove Installation Folder



ขั้นตอนที่ 10. เมื่อคลิกที่ Remove Installation Folder แล้วโฟล์เดอร์ Installation ในโฟล์เดอร์ Joomla ก็จะหายไป
แสดงโฟล์เดอร์ Installation



ขั้นตอนที่ 11. หน้าตาของเว็บเมื่อทำากราติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว

หน้าตาของเว็บ



ขั้นตอนที่ 12. หน้าแสดงของการเข้าสู่ระบบจัดการเว็บไซต์ของ Joomla 

หน้าแสดงของการเข้าสู่ระบบ


ขั้นตอนที่ 13. หน้าเว็บไซต์ที่ใช้ในการจัดการส่วนต่างๆของ Joomla


 หน้าเว็บไซต์





แนะนำวิธีการติดตั้งการใช้งาน

...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com
Plugin Joomla

พื้นฐานการใช้งาน Plugin ใน Joomla

            เป็น extension ที่ไว้แสดง ลูกเล่น หรือคำสั่ง script ต่างๆ ซึ่งจะถูกนำมาใช้ในทุกหน้าของเว็บไซต์ เพราะ Plugin จะเป็น Extension ที่ถูกำหนดให้ใช้งานตลอด เช่น plugin facebook comment หากกำหนดให้ใช้งาน ก็จะถูกแสดงในบทความทุกบทความ ยกเว้นกรณีที่ Plugin ตัวดังกล่าวจะมี option ให้เลือกได้นั้นเอง หลังจากการติดตั้งแล้ว เราสามารถเข้าไปจัดการ plugin ได้จากเมนู Extension เลือกที่ Plugin

ทำการติดตั้ง Plugin Joomla แล้วนั้น เมนูที่ใช้จัดการในส่วน Plugin นั้น จะเป็นที่เมนู Extensions เลือกที่ Plugin

พื้นฐานการใช้งาน Plugin ใน Joomla



        ในหน้านี้จะแสดงรายการ Plugin ที่เรามีอยู่นะครับ ซึ่งโดยปกติเราจะใช้ Search Tools ในการค้นหา แต่ส่วนตัวผมชอบใช้การคลิ๊กที่ ID ให้มันเรียงจากล่าสุดมา จะสะดวกกว่า เพราะเราจะเห็น Plugin ตัวที่เราติดตั้งล่าสุดนั้นเอง

        ส่วนการจัดการ ก็จะขึ้นอยู่กับแต่ละ Plugin ที่เราติดตั้ง ว่ามีการให้กำหนดการตั้งค่าอย่างไร แต่ที่เหมือนกันคือ เราต้องทำการเปิดใช้งาน Plugin ก่อนทุกครั้งนะครับ โดยคลฺีกที่ชื่อของ Plugin ก็จะเข้ามาในส่วนของ Plugin


พื้นฐานการใช้งาน Plugin ใน Joomla

ในหัวข้อ Status ให้เราเลือกเป็น Enabled นะครับ แล้วก็ทำการ Save

➤Module Joomla

พื้นฐานการใช้งาน Module ใน Joomla

...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com

ทำการติดตั้งในส่วน Extensions ที่เป็น Module กันแล้ว เวาลที่เราจะทำการจัดการ Module Joomlaนั้น เราต้องไปที่เมนู Extensions เลือกที่ Module.
พื้นฐานการใช้งาน Module ใน Joomla



ในหน้า Modules (Site) หมายถึง Module ที่ใช้งานในส่วนหน้าเว็บไซต์นะครับ โดยทั่วไปแล้วหลังจากการที่เราติดตั้ง Module ใหม่ โดยส่วนมาก Module เหล่านั้นจะถูกปิดการใช้งานก่อนนะครับ ให้เราดูได้จาก Status ด้านหน้า Module จะเป็นเครื่องหมายกากะบาทสีแดงนะครับ ซึ่งเราต้องเข้าไปจัดการและทำการเปิดใช้งานก่อนเป็นหลักครับ

โดยในหน้า Modules (Site) จะมีเมนูให้เราสามารถจัดการในส่วน Module
...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com

พื้นฐานการใช้งาน Module ใน Joomla



...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com
New เป็นการสร้าง Module ใหม่ ซึ่งโดยปกติเราจะเป็นมี Module อยู่ในรายการแล้วก็ตาม แต่เรายังสามารถทำการสร้างใหม่ได้จากปุ่มนี้

พื้นฐานการใช้งาน Module ใน Joomla




Edit เป็นการเลือกเข้าไปจัดการกับ Module ที่เราเลือกไว้นะครับ
Duplicate เป็นการ Copy Module ที่เราเลือกนะครับ (ซึ่งเราจะได้การตั้งค่าต่างๆที่เหมือนกัน และทุกครั้งที่ Duplicate โมดูลตัวใหม่จะถูกปิดการใช้งานไปก่อนเสมอเช่นกัน) เราสามารถเลือก Duplicate ได้จากรายการ Status ของ Module เช่นกัน
Publish และ Unpublish เป็นการกำหนด เปิดหรือ ปิด ใช้งาน Module นะครับ
Check-in เป็นการเครีย Module ที่ถูกแก้ไขค้างไว้แล้วไม่มีการ Save จะเกิดเป็นรูปกุญแจหน้ารายการ
...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com

พื้นฐานการใช้งาน Module ใน Joomla




ให้เราติ๊กถูกหน้ารายการ แล้วคลิ๊กที่เมนู Check-in ครับ รูปกุญแจก็จะหายไปครับ
Batch ทำหน้าที่ในการ Copy หรือ Move Extension โดยที่เราสามารถเลือกในส่วนภาษา และการเข้าถึงได้ โดยที่เราต้องทำการเลือก Module ก่อนการใช้งานในส่วนนี้


พื้นฐานการใช้งาน Module ใน Joomla



Trash เป็นการลบ Module ออกจากรายการ ซึ่งเราสามารถเลือกการลบ Module ได้จากรายการ Status ของ Module เช่นกัน
พื้นฐานการใช้งาน Module ใน Joomla




ต่อมาในส่วน เมนู Tools ที่เป็นตัวช่วยในการเข้าถึง Module
...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com

พื้นฐานการใช้งาน Module ใน Joomla



ถือว่าเป็นตัวหลักในการใช้งานเลยก็ว่าได้ เพราะโดยส่วนมากที่ผมใช้ จะเป็นการใช้ในส่วนของ Select Position และ Select Type มาโดยตลอด เพื่อไปยัง positions ที่เราใช้งาน และ เลือกประเภทโมดูลนั้นเอง


➤menu joomla

1.เมนูหลัก
       เป็นการสร้างเมนูหลัก ในการที่จะถูกนำไปใช้ในการเรียกใช้งาน ผ่านทาง Module หรือ View Menu Link อีกทีหนึ่ง ซึ่งเมนูหลักนี้ เราสามารถสร้างได้ตามหน้าที่ หรือ ตำแหน่งในการจัดวางเมนูในหน้าเว็บไซต์ เช่น Main Menu, Top Menu, UserMenu เป็นต้น
ไปดูในการเข้าสู่เมนูหลัก เราจะสามารถดูรายการเมนูหลักได้จาก Menu เลือกที่ Menage


...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com
menu ใน joomla


ในนี้จะมีรายการเมนูหลัก ที่มีแสดงอยู่ ซึ่งในเริ่มต้นนี้ ก็จะมีเมนู Main Menu ที่ถูกสร้างขึ้นมาให้อยู่แล้ว เราสามารถสร้างใหม่ได้ โดยคลิ๊กที่ New หรือที่ Add New Menu


menu ใน joomla


โดยให้เราใส่ชื่อเมนู (Title) และ Menu Type ให้ใส่เหมือนกันแต่เป็นตัวเล็กและไม่เว้นวรรค ส่วน Descriptionจะใส่หรือไม่ใส่ก็ได้ จากนั้นก็ทำการ Save & Close
...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com

menu ใน joomla


2.Menu item
เรียกว่า เมนูลิงค์ เป็นเมนูที่ถูกสร้างขึ้นภายในเมนูหลักที่เราเลือกนั้นเอง โดยแต่ละเมนูลิงค์ (Menu item) ก็จะเป็นลิงค์ไปยังในส่วนของ Components ต่างๆตามที่เราเลือกใช้ผ่านทาง Menu Type อีกที เช่น สมมุติ เลือกเมนูหลักที่จะใช้เป็น TOP Menu
...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com


menu ใน joomla
จะเข้ามาที่หน้า Menus: New Item
...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com


menu ใน joomla


ใส่ชื่อเมนู และไปที่ Menu Item Type คลิ๊กที่ Select จะมี Popup รายการ ให้เราเลือกที่จะสร้าง


menu ใน joomla

เลือกเป็น Registration Form จะกลับมาที่หน้า Menus: New Item...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com



menu ใน joomla


จะเห็นว่าตอนนี้ Menu Item Type มีรายการที่เลือกแล้ว รวมถึง Link ก็มี Link ของเมนูที่เลือกแสดงให้ทราบแล้ว เราก็ลองทำการ Save

menu ใน joomla


Module Menu ให้แสดง เมนูหลัก ที่ชื่อ TOP Menu ก่อนนะครับ เพราะปกติเราจะเห็นเป็นเมนูหลักที่ชื่อ Main Menu)


menu ใน joomla


จะเห็นว่ามีเมนูในส่วนของ TOP Menu ขึ้นมาให้เราลองคลิ๊กที่เมนูที่เราสร้างขึ้น
...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com



menu ใน joomla

ดังนั้นการสร้างเมนู ให้เราเลือกเมนูหลักที่จะสร้างก่อน แล้วค่อยสร้างเมนูลิงค์ หรือ Menu Item อีกทีนะครับ ทีนี้ในเว็บไซต์ที่เราสร้างไว้นั้น ระบบ joomla จะสร้างเมนูหลักขึ้นมาให้แล้ว ที่ชื่อ Main Menu ซึ่งในนั้น จะมีเมนูลิงค์อยู่แล้ว 1 รายการ นั้นก็คือ Home

menu ใน joomla

สังเกตุว่าในรายการ Home นั้นจะมีรูปดาวสีเหลืองแสดงอยู่ นั้นหมายถึงว่า เมนูลิงค์ หรือ Menu Item นี้ ถูกกำหนดให้เป็น เมนู Default ซึ่งก็จะเป็นเมนูในหน้าแรกของเว็บไซต์นั้นเอง (เราสามารถเปลี่ยนให้เมนูลิงค์ หรือ Menu Item ตัวอื่นๆ เป็น Default ได้เช่นกัน โดยการคลิ๊กที่รูปดาวในเมนูลิงค์นั้นๆ ให้เป็นสีเหลืองนั้นเอง)

ต่อมาในส่วน Option ของ Menu นั้น ซึ่งอยู่ในหน้า Menus: Edit Item (ให้เราคลิ๊กเข้าไปในชื่อเมนูลิงค์นั้นๆ) เราจะเห็นมี Option tab ให้เราทำการกำหนดค่าต่างๆ ซึ่งจริงๆ แล้ว แต่ละ Menu Item Type จะมี option tab ไม่เหมือนกัน ซึ่งจะขึ้นอยู่กับ Components นั้นๆ ว่าต้องมีการกำหนดค่าอะไรบ้าง

menu ใน joomla

ในส่วนที่ 1  จะเป็น Option ของแต่ละ Component ในที่นี้เป็นของ Component Content นั้นเอง
ในส่วนที่ 2  จะเป็น Option หลักของเมนู ซึ่งจะมีเหมือนกันทุกเมนูลิงค์ เราสามรถกำหนดรายละเอียดคร่าวๆของแต่ละเมนูได้จากตรงนี้เช่นกัน


การใช้งาน Joomla  เบื้องต้น









...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com

บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับความรู้

ความหมายของความรู้ อิคูจิโร โนนากะ KMB ⇒ได้ให้คำจำกัดความของความรู้หมายถึง สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิด เปรียบเทียบ เชื่อม...